4.2 การจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ
![]() (สัญลักษณ์ขององค์กรสันนิบาตชาติ) |
ถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อสืบทอดองค์การสันนิบาตชาติ ซึ่งถูกมองว่าไร้ประสิทธิภาพที่จะธำรงรักษาสันติภาพ ดังที่เห็นได้จากความล้มเหลวในการป้องกันสงครามโลกครั้งที่สอง
คำว่า "สหประชาชาติ" เป็นแนวคิดของ แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์
ในปี ค.ศ. 1944 ตัวแทนจากประเทศฝรั่งเศส สาธารณรัฐจีน
การประชุมครั้งนั้นและครั้งต่อ ๆ มา ทำให้เกิดรากฐานความร่วมมือกัน |
เมื่อใกล้สิ้นสุดสงคราม การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ
ยกเว้นโปแลนด์ที่ไม่สามารถส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมได้
หลังจากนั้น การประชุมสมัชชาครั้งแรกเกิดขึ้นที่กรุงลอนดอน เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1946 |
(การลงนามเพื่อจัดตั้งองค์กรสหประชาชาติ) |
(ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศที่กรุงเฮก) |
ระบบสหประชาชาติอยู่บนพื้นฐานของ 5 องค์กรหลัก
สี่องค์กรในจำนวนดังกล่าวมีสถานที่ทำการในสำนักงานใหญ่ |
สหประชาชาติมีธงที่ทำการไปรษณีย์ และดวงตราไปรษณียากรของตนเอง โดยที่ภาษาอาหรับได้ถูกเพิ่มเข้ามาหลังสุด เมื่อปี ค.ศ. 1973
ส่วนสำนักงานเลขาธิการนั้นใช้ 2 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส |
![]() (สัญลักษณ์ขององค์กรสหประชาชาติ) |