5.3.4 ขบวนการเสรีไทย
เสรีไทย (Free Thai Movement) มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านการรุกรานของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นรักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไทย
ขบวนการเสรีไทยกำเนิดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 เมื่อกองทัพญี่ปุ่นยกทัพเข้ามาทางด้านทิศตะวันออกและยกพลขึ้นบกจากอ่าวไทย
ภายหลังถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "เสรีไทย" |
![]()
(สัญลักษณ์ของเสรีไทย)
|
(สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี) |
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มในประเทศ นำโดยนายปรีดี พนมยงค์ ขณะนั้นดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง
กลุ่มที่สองเป็นกลุ่มคนไทยในสหรัฐอเมริกา นำโดย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งมีบทบาทสำคัญ
กลุ่มที่สามเป็นกลุ่มคนไทยในอังกฤษ นำโดยนักเรียนไทย
และต่อมาในปี 2485 อังกฤษได้รับสมาชิกเสรีไทยเข้าเป็นกำลังพลร่วมในกองทัพอังกฤษ |
ช่วงที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี
เพราะขาดการประสานงานร่วมกัน แต่ขณะเดียวกันคณะรัฐบาลก็มีรัฐมนตรีหลายคนที่เป็นบุคคลระดับหัวหน้าในองค์การต่อต้านญี่ปุ่น และคอยให้ความช่วยเหลือองค์การอย่างลับ ๆ |
![]() |
![]()
(ขณะปฏิบัติภารกิจลับเสรีไทยกู้ชาติบนเทอกเขาภูพาน)
|
เสรีไทยมีเครือข่ายความร่วมมือในจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ ด้านฝ่ายไทย นายปรีดี พนมยงค์ ได้ส่งทหารไปประจำที่กองบัญชาการของฝ่ายสัมพันธมิตร ณ เมืองแคนดี ลังกา พร้อมกับส่งทหาร ตำรวจ และพลเรือนไปรับการฝึกกับ สำนักงานบริการด้านยุทธศาสตร์ (O.S.S : Office of Strategic Services) ของสหรัฐอเมริกา และกองกำลัง 136 ของอังกฤษ ในอินเดียและลังกา
นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งโรงเรียนนายทหารสารวัตร และโรงเรียนนายสิบสารวัตรทหาร โดยรับสมัครนิสิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มีการประชาสัมพันธ์ให้คนไทยในประเทศร่วมกันต่อต้านญี่ปุ่น |
อย่างไรก็ดี การปะทะกันระหว่างขบวนการเสรีไทยกับกองทัพญี่ปุ่นไม่มีโอกาสเกิดขึ้น
แม้ว่าไทยจะร่วมกับญี่ปุ่นในการประกาศสงคราม |
![]()
(การเดินสวนสนามของเสรีไทย ณ ถนนราชดำเนิน เมื่อ 25 กันยายน 2488)
|