สนแผง

สนแผง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Thuja orientalis Endl.
ชื่อวงศ์ : CUPRESSACEAE
ชื่อสามัญ : Chimese Arborvitae, Orientali Arborvitae
ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ : สนแผง สนหางสิงค์
ถิ่นกำเนิด : เขตหนาวของจีนรวมถึงเกาหลีเหนือ มองโกเลียและบางส่วนของอิหร่าน
การกระจายพันธุ์ : ในประเทศไทย มีการปลูกประดับทั่วไป
การขยายพันธุ์ : การตอนกิ่งและเพาะเมล็ด
การใช้ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ประดับ เปลือกต้นทำให้ระดูขาวแห้งใบแก้ปวดตามข้อ ลดไข้ ช่วยห้ามเลือด ตกเลือด ขับเสมหะ แก้ไอ ขับปัสสาวะ แผลผุพองจากน้ำร้อนและไฟไหม้
ลักษณะวิสัย : ไม้พุ่ม
เรือนยอด ทรงพุ่ม : รูปกรวย สูง 20 ม. กว้าง 1-2 ม.
ถิ่นอาศัย : เป็นพืชบก
ลำต้น : ลำเหนือดิน ตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้น : น้ำตาลอมแดง ขรุขระ
ยาง : ไม่มียาง
ใบ : สีเขียวอ่อน ลักษณะพิเศษของใบ เป็นใบไม้ร่วมแตกออกเป็นเกล็ด เรียงติดกันแน่นกับกิ่งมีลักษณะเป็นแผง
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง : ตรงข้ามสลับตั้งฉาก
รูปร่างแผ่นใบ : รูปเข็ม
ปลายใบ : ปลายใบแหลมเข็ม มีรยางค์แข็ง
โคนใบ : รูปตัด
ขอบใบ : เป็นแฉก
ผล : สีของผล ผลอ่อนน้ำตาล ผลแก่สีน้ำตาล รูปร่างผล เม็ดเล็ก
จัดทำโดย... ด.ญ.ฐิติกานต์ อายุยืน และ ด.ญ.อรอนงค์ ศรีภัทราพันธุ์
เนื่องจากมีข้อมูลบางส่วนหรือทั้งหมดได้ทำการคัดลอกมาแล้วไม่อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ชัดเจนด้วย ดูรูปแบบการทำเอกสารอ้างอิงได้ที่
http://www.thaigoodview.com/node/99177
มิฉะนั้นทางเว็บ thaigoodview.com จำเป็นต้องลบข้อมูลทั้งหมดออก
ขอขอบคุณ
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ผู้ดูแลเว็บไซต์ไทยกู๊ดวิว
ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่าคัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง
ช่วยกันนะครับ
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ ไม่ถูกปิดเสียก่อน
ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ