ระบบนิเวศ

ความสัมพันธ์ระหว่งสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
บทบาทของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
1. ผู้ผลิต ( producer ) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเองได้ ได้แก่ พืช
2. ผู้บริโภค ( consumer ) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคสัตว์ ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ และผู้บริโภคซากสิ่งมีชีวิต
3. ผู้ย่อยสลาย ( decomposer ) หมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ และดำรงชีวิตอยู่ได้โดยการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตต่างๆ ให้กลายเป็นสารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น จุลินทรีย์ เห็ด รา
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต 3 ลักษณะ คือ
1. ความสัมพันธ์แบบได้รับประโยชน์ (+)
2. ความสัมพันธ์แบบเสียประโยชน์ (-)
3. ความสัมพันธ์แบบไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ ( 0 )
กลุ่มสิ่งมีชีวิตใระบบนิเวศมีความสัมพันธืซึ่งกันและกัน ซึ่งจำแนกความสัมพันธืของสิ่งมีชีวิตได้ดังนี้
1) ลักษณะการอยู่ร่วมกัน: แบบภาวะที่ต้องพึ่งพา (Mutualism) เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด : สิ่งมีชีวิต 1(+) ,สิ่งมีชีวิต 2 (+) เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด : สิ่งมีชีวิต 1(-),สิ่งมีชีวิต 2 (-) ลักษณะของความสัมพันธ์ ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ไม่แยก จากกัน เช่น โปรโตซัวในลาไส้ปลวก
โปรโตซัวในลำไส้ปลวก ที่มา : http://www.bio.miami.edu/ecosummer/lectures/lec_symbiosis.html 2) ลักษณะการอยู่ร่วมกัน: แบบได้รับประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation) เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(+) ,สิ่งมีชีวิต 2 (+) เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด : สิ่งมีชีวิต 1(0),สิ่งมีชีวิต 2 (0) ลักษณะของความสัมพันธ์ : ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ แต่ สามารถแยกกันได้ ไม่แยก จากกัน เช่น โปรโตซัวในลาไส้ปลวกจาเป็นต้องอยู่ด้วยกัน
ปลาตูนการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล
ที่มา : http://www.bio.miami.edu/ecosummer/lectures/lec_symbiosis.html
3) ลักษณะการอยู่ร่วมกัน: แบบภาวะที่มีการเกื้อกูล (Commensalism) เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด: สิ่งมีชีวิต 1(+) ,สิ่งมีชีวิต 2 (0) เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด : สิ่งมีชีวิต 1(-),สิ่งมีชีวิต 2 (0) ลักษณะของความสัมพันธ์ : สิ่งมีชีวิต 1 ได้รับประโยชน์ ถ้าแยก กันสิ่งมีชีวิต 1 จะเสียประโยชน์ เช่น นกทารังบนต้นไม้
นกทำรังบนต้นไม้ ที่มา : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=nonlock&month=08- 2009&date=23&group=4&gblog=21 4) ลักษณะการอยู่ร่วมกัน: แบบภาวะมีการย่อยสลาย (Saprophytism) เมื่ออยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด: สิ่งมีชีวิต 1(+) ,สิ่งมีชีวิต 2 (0) เมื่อแยกจากกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด :สิ่งมีชีวิต 1(-),สิ่งมีชีวิต 2 (0) ลักษณะของความสัมพันธ์ : สิ่งมีชีวิต 1 ย่อยสลายสิ่งมีชีวิต 2 ให้เน่าเปื่อยผุพัง ถ้าแยกกันฝ่าย 1 จะเสียประโยชน์ เช่นเห็ด รา ย่อยสลายกิ่งไม้ที่ตายแล้วของต้นไม้
เห็ด รา ย่อยสลายกิ่งไม้ที่ตายแล้วของต้นไม้
ที่มา : http://www.bwc.ac.th/pan/m5site/web_site/508/ecosystem/food%20chain.htm
ขอบคุณครับ
เนื่องจากมีข้อมูลบางส่วนหรือทั้งหมดได้ทำการคัดลอกมาแล้วไม่อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
กรุณาอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลให้ชัดเจนด้วย ดูรูปแบบการทำเอกสารอ้างอิงได้ที่ http://www.thaigoodview.com/node/99177
มิฉะนั้นทางเว็บ thaigoodview.com จำเป็นต้องลบข้อมูลทั้งหมดออก
ขอขอบคุณ
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ผู้ดูแลเว็บไซต์ไทยกู๊ดวิว
ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่าคัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดีตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง
ช่วยกันนะครับ
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ ไม่ถูกปิดเสียก่อน
ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ