ต้มยำสุดจี๊ด

ที่มาภาพ http://www.m-culture.go.th/ilovethaiculture/images/biww/29-08-2013_10-37-36.jpg
ไม่มีหลักฐานแน่นชัดถือกำเนิดของอาหารไทยชนิดหนึ่งที่ เรียกว่า “ต้มยำกุ้ง”
การทำต้มยำกุ้ง ในระยะแรกอาจใช้น้ำปลา ใส่สมุนไพร จำพวกใบนาก ตะไคร์ ข่าแก่
ซึ้งมีวัตถุประสงค์ในการต้มคาวกุ้งหรือเนื้อสัตว์ที่ใช้ทำต้มยำ
ตะไคร์ทุบเพื่อให้มีน้ำมันออกมาและเกิดกลิ่นมากกว่าการหั่นแฉลบจะใส่เมื่อน้ำเดือด
เพื่อให้ได้กลิ่นและน้ำแกงจะไม่เปลี่ยนสีเป็นสีเขียวของตะไคร์ เช่นเดียวกับข่าแก่
หั่นบางๆใส่ขณะที่น้ำแกงเดือดจะทำให้น้ำแกงเกิดความหอมใส่ก่อนใส่กุ้ง
คนไทยที่ถิ่นพำนักตามแนวเขตชายแดน ติดต่อประเทศอันได้แก่ ทิศตะวันตก กาญจนบุรี หรือ ทางใต้ ระนอง
จะรู้จักและนิยมรับประทานกุ้งที่มาจากแม่น้ำสาละวิน เพราะเนื้อเหนียวแน่นไม่ยุ่ย
และเคล็ดการต้มต้องไม่ปิดฝาหม้อและใช้ไฟปานกลางไม่แรงหรืออ่อนเกินไป
เพราะถ้าไฟแรงจะทำให้น้ำต้มยำขุ่นไม่น่ารับประทาน เมื่อทุกอย่างสุกปิดไฟ รีบใส่รากผักชีหั่นฝอยลงไปทันทีเพื่อเพิ่มกลิ่นหอม
ถ้าทำต้มยำน้ำข้นให้ตักเนื้อน้ำพริกเผงใส่ลงไปเล็กน้อยจะทำให้เป็นเงาสวยงาม น่ารับประทาน
พริกขี้หนูที่จะใช้ต้องบุบทีละเม็ดจึงจะมีกลิ่นหอม น้ำพริกเผาที่ใส่ในน้ำต้มยำกุ้ง ไม่ใช้น้ำพริกเผาแบบที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
มีการผัดและเตรียมเก็บไว้ สำหรับทำต้มยำกุ้ง ใส่อาหารประเภทยำ ใส่ข้าวผัดหรือทาขนมแป้ง
แต่ล่ะชนิดมีความต่างในการจัดทำทั้งสิ้น ปัจจุบันนิยมรับประทานน้ำพริกเผาที่ซื้อสำเร็จ
และนิยมใส่นมข้นจืดกับน้ำมันน้ำพริกเผาลงในต้มยำกุ้งทั้งน้ำข้นและมักจะอ้าง ว่าเป็นตำรับชาววังเสมอ
น้ำซุปที่ใช้ในการต้มยำกุ้งนั้น เป็นอิทธิพลที่ได้รับจากวัฒนธรรมการรับประทานอาหารจากชุมชนชาวจีนที่เข้ามา
ตั้งรกรากอยู่ในดินแดนสุววรณภูมิ ซุปของคนจีน ปกติจะเป็นน้ำซุปใสเพื่อให้แทนน้ำดื่ม
ที่มาภาพ http://www.m-culture.go.th/ilovethaiculture/images/biww/29-08-2013_10-37-36.jpg
ที่มาของรูปในBanner http://ed.files-media.com/ud/gal/dcp/26/77737/mb42672_r_p4_8651022093-500x334.JPG
งานไม่ก้าวหน้าเลย