การแบ่งเซลล์(ไมโทซิสและไมโอซิส) โดย ครูเกรียงไกร ไชยภักษา

การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมี 2 ขั้นตอนคือ
1.การแบ่งนิวเคลียส ( Karyokinesis )
2.การแบ่งไซโทพลาสซึม( Cytokinesis )มี 2 แบบคือ
2.1 แบบที่เยื่อหุ้มเซลล์คอดกิ่วจาก 2 ข้างเข้าใจกลางเซลล์เรียกว่าแบบ Furrow type ซึ่งพบในเซลล์สัตว์
2.2 แบบที่มีการสร้างเซลล์เพลท( Cell plate ) มาก่อตัวบริเวณกึ่งกลางเซลล์ขยายไป 2 ข้างของเซลล์เรียกว่าแบบ Cell plate type ซึ่งพบในเซลล์พืช
การแบ่งเซลล์แบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้
1.การแบ่งแบบไมโทซิส( Mitosis )
2.การแบ่งแบบไมโอซิส( Meiosis )


ที่มา
http://student.ccbcmd.edu/courses/bio141/lecguide/unit6/genetics/DNA/DNArep/images/interphase_ac.jpg
ที่มา
http://education.kings.edu/dsmith/eng.gif
ระยะนี้ในนิวเคลียสสารพันธุกรรมจะพันกันแน่นเข้าจนเริ่มเห็นเป็นรูปโครโมโซม เซนตริโอลเคลื่อนที่ไปยังแต่ขั้วเซลล์ เมื่อถึงระยะสุดท้ายระยะนี้บางครั้งเรียกว่า โพรเมตาเฟส ( Prometaphase ) จะมีการสร้างเส้นใยสปินเดิล( Spindle fiber ) ไปยังบริเวณ ไคนีโตคอร์( Kinetochore ) ของโครโมโซม เยื่อหุ้มนิวเคลียสจะสลายไป
ที่มา:
http://student.ccbcmd.edu/courses/bio141/lecguide/unit6/genetics/DNA/DNArep/images/early_late_prophase1_pc.jpg
เป็นระยะที่เห็นโครโมโซมชัดเจนมากที่สุด โดยโครโมโซมจะมาเรียงตัวอยู่ในแนวกึ่งกลางเซลล์
( Equaltorial plate )
ที่มา:
http://student.ccbcmd.edu/courses/bio141/lecguide/unit6/genetics/DNA/DNArep/images/metaphase1_ac.jpg
http://iweb.tntech.edu/mcaprio/metaphase1.jpg
ซิสเตอร์โครมาทิด( Sisterchromatid ) ของโครโมโซมแต่ละอันถูกดึงแยกจากกันไปยังขั้วของเวลล์ การดึงนี้ใชัพลังงาน ATP ระยะนี้สิ้นสุดเมื่อโครโมโซมทั้งหมดไปถึงขั้วเซลล์ ชุดโครโมโซมมีค่าเท่ากับ 4n
ที่มา :
http://student.ccbcmd.edu/courses/bio141/lecguide/unit6/genetics/DNA/DNArep/images/early_anaphase1_pc.jpg
โครโมโซมคลายตัวเป็นเสันใยโครมาทินเหมือนเดิมมีการสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียสขึ้นอีกครั้งจากนั้นจะมีการแบ่งไซโตพลาสซึมในเซลล์สัตว์เยื่อหุ้มเซลล์จะคอดเข้าหากัน ถ้าเป็นในเซลล์พืชจะมีการสร้างผนังเซลล์ใหม่ขึ้นตรงกลางเซลล์เมื่อผนังเซลล์ใหม่ชนกับผนังเซลล์เดิมจะได้เซลล์ลูก 2 เซลล์ ที่แต่ละเซลล์มีชุดโครโมโซม2n มีลักษณะพันธุกรรมเหมือนเซลล์เริ่มต้น
ที่มา :
http://student.ccbcmd.edu/courses/bio141/lecguide/unit6/genetics/DNA/DNArep/images/telophase_ac.jpg
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
เป็นการแบ่งเซลล์เพศ( Sex cell ) ในสัตว์พบการแบ่งเซลล์แบบนี้ในอัณฑะและรังไข่ สำหรับในพืชพบในการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสใน อับเรณูและรังไข่ เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ จะมีก่ฃารแบ่งนิวเคลียส 2 ครั้ง แต่มีการจำลองโครโมโซมเพียงครั้งเดียวในระยะ s ของอินเตอร์เฟส 1 การแบ่งนิวเคลียสครั้งแรกจะมีการลดชุดโครโมโซมลงครึ่งหนึ่ง คือจาก 2n เป็น n
ไมโอซิส 2 เป็นระยะที่มีการแบ่งเซลล์คล้ายคลึงกับการแบ่งเซลลืแบบไมโทซืส เมื่อสิ้นสุดจะได้เวลล์ลูก 4 เซลล์จากเซลล์เริ่มต้น 1 เซลล์ เซลล์ที่ได้มีลักษณะพันธุกรรมต่างจากเซลล์เริ่มต้น แบ่งเป็นระยะต่งๆดังนี้
การแบ่งเซลล์ ระยะไมโอซิส 1
คล้ายกับอินเตอร์เฟสในการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส แต่ระยะ S ของไมโอซิสจะใช้เวลายาวนานกว่าในไมโทซิส
ที่มา:
http://e-learning.snru.ac.th/els/Cell_Biology/interphase2.gif
เป็นช่วงที่ใช้เวลานาน โดยโครมาทินจะหดตัวเข้ามาเป็นโครโมโซมที่เป็นคู่กัน (Homologous chromosome )มาเข้าคู่กันให้เห็นแต่ละคู่มี 4 โครมาติด เกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนระหว่างซิสเตอร์โครมาตืด เรียกการเกิด ครอสซิ่งโอเวอร์ ( Crossing over ) ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมกันได้
ระยะเลพโททีน( Leptotene )
มีการพันเกลียวกันของโครโมโซม เห็นเสันสายโครมาทินยาวคล้ายเส้นด้าย


http://www.vcbio.science.ru.nl/images/cellcycle/meiosis-locusta-leptotene.jpg
http://www.cbu.edu/~aross/embryo/meiosis/04leptotene.GIF
ระยะไซโกทีน( Zygotene )
เป็นระยะ


ที่มา:
http://www.nzetc.org/etexts/Bio13Tuat01/Bio13Tuat01_059a(h280).jpg
http://8e.devbio.com/images/ch19/1903fig1.jpg
ระยะพาคีทีน( Pachytene )
เป็นระยะที่ไบวาเลนท์ หดตัวสั้นเข้าและหนาขึ้น การแนบชิดของโครโมโซมสมบูรณ์

http://www.uoguelph.ca/zoology/devobio/
miller/150420fig1-15.JPG
http://www.jireurope.com/Gallery/images/pachytene.jpg


http://www.cbu.edu/~aross/embryo/meiosis/
07diplotene.GIF
http://files.myopera.com/kiyoshi/
albums/164047/4diplotene.JPG
คล้ายกับระยะดิโพลทีนแต่โครโมโซมหดสั้นกว่าจะเห็นโครโมโซมเป็นรูปวงแหวน หรือรูปเลขแปด
ที่มา:
http://www.cbu.edu/~aross/embryo/
meiosis/08diakinesis.GIF
http://www.vcbio.science.ru.nl/images/
cellcycle/meiosis-locusta-diakinesis.jpg
โครโมโซมที่มี 4 โครมาติดมาเรียงตัวที่ระนาบกลางเซลล์( Equatorial plate )มีเส้นใยสปินเดิลจับที่ไคนีโตคอร์ เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายไป
ที่มา:
http://www.cbu.edu/~aross/embryo/meiosis/09metaphaseI.GIF
http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week4/4webimages/figure-09-14-4-photo.jpg
เซนโทเมียร์จะยังไม่แบ่งตัวจาก 1 เป็น 2 โครโมโซมคู่เหมือนจะแยกไปยังขั้วเซลล์แต่ละโครโมโซมที่แยกไปยังขั้วเซลล์ประกอบด้วย 2 โครมาติด ระยะนี้มีชุดโครโมโซมยังคงเป็น 2n
ที่มา:
http://www.cbu.edu/~aross/embryo/meiosis/10anaphaseI.GIF
http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week4/4webimages/figure-09-14-5-...
แต่ละขั้วของเวลล์มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์(n) แต่ละโครโมโซมยังคงมีซิสเตอร์โครมาติดอยู่ มีการแบ่งไซโตพลาสซึม และสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียสขึ้นใหม่
ที่มา:
http://www.cbu.edu/~aross/embryo/meiosis/11telophaseI.GIF
http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week4/4webimages/figure-09-14-6-photo.jpg
จะไม่มีการจำลองโครโมโซมขึ้นอีกในอินเดอร์เฟส ในสิ่งมีชีวิตชั้นสูงจะประกอบด้วย


http://www.cbu.edu/~aross/embryo/meiosis/13prophaseII.GIF
http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week4/4webimages/figure-09-14-7-photo.jpg


ที่มา:
http://www.cbu.edu/~aross/embryo/meiosis/14metaphaseII.GIF
http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week4/4webimages/figure-09-14-8-photo.jpg
ระยะอะนาเฟส 2
เป็นระยะที่ดึงซิสเตอร์โครมาทิดออกจากกันเซ็นโตเมียร์แต่ละโครโมโซมแบ่งจาก 1 เป็น 2 ระยะนี้จะกลับมามีชุดโครโมโซม 2n อีกครั้ง
ที่มา:
http://www.cbu.edu/~aross/embryo/meiosis/15anaphaseII.GIF
http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week4/4webimages/figure-09-14-9-photo.jpg
ระยะเทโลเฟส 2


ที่มา:
http://www.cbu.edu/~aross/embryo/meiosis/16telophaseII.GIF
http://trc.ucdavis.edu/biosci10v/bis10v/week4/4webimages/figure-09-14-10-photo.jpg
เนื้อหาจะมีการปรับปรุงเป็นระยะๆต่อไป หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนในการศึกษาค้นคว้าไม่มากก็น้อย สำคัญที่สุดขอขอบคุณทุกแหล่งข้อมูลที่อ้างอิงถึง