.
วิวัฒนาการการขนส่งทางน้ำ
เริ่มจาก การใช้ท่อนไม้ลอยน้ำเป็นตัวพยุง ต่อมานำท่อนไม้มาผูกเป็นแพลอยน้ำ
ปัจจุบันใช้เรือที่มีเครื่องยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงจากน้ำมัน
จนถึงใช้พลังงานนิวเคลียร์
หลักการลอยตัวของวัตถุในน้ำ
การที่วัตถุจมน้ำหรือลอยน้ำ ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของวัตถุ
ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำวัตถุนั้นจะจมน้ำ แต่ถ้าวัตถุนั้นมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำวัตถุนั้นจะลอยน้ำ
ความหนาแน่นของน้ำ
มีค่า = 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
วัตถุบางอย่างมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ
แต่สามมารถลอยน้ำได้ เช่นเรือที่ด้วยเหล็กก็ลอยน้ำได้
โดยทำให้มีปริมาตรเพิ่มขึ้นแต่มวลยังคงเดิม
ข้อดีของการขนส่งทางน้ำ
1.
มีอัตราค่าขนส่งต่ำ เมื่อเทียบกับการขนส่งประเภทอื่น
2.
สามารถขนส่งสินค้าที่มีน้ำหนักมาก และปริมาณมากได้ดี
3.
มีความปลอดภัยมากกว่าการขนส่งประเภทอื่น เพราะมีความเร็วต่ำ
ข้อเสียของการขนส่งทางน้ำ
1.สามารถขนส่งผู้โดยสาร
หรือสินค้าเฉพาะที่ท่าเรือเท่านั้น
2.
ใช้เวลาในการขนส่งมาก อาจทำให้สิค้าเปลี่ยนแปลงสภาพได้
3.
เวลาในการขนส่งไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับธรรมชาติ
การคำนวณเกี่ยวกับแรงลอยตัว
แรงลอยตัว
เป็นแรงที่ของเหลวพยุงวัตถุ มีค่าเท่ากับ น้ำหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่
แรงลอยตัวจะขึ้นอยู่กับมวล
ขนาด รูปร่างของวัตถุ และความหนาแน่นของวัตถุ

1.
เมื่อวัตถุจมในของเหลว (
ความหนาแน่นของวัตถุ มากกว่า ความหนาแน่นของของเหลว )
ปริมาตรของเหลวที่ล้นออกมา
=
ปริมาตรของวัตถุทั้งก้อน
น้ำหนักของเหวที่ล้นออกมา
=
น้ำหนักของวัตถุที่หายไปเมื่อชั่งในของเหลว
แรงลอยตัว
=
น้ำหนักของเหลวที่ล้นออก
สูตร
ความหนาแน่นของวัตถ ุ
= มวลของวัตถุ
( กรัม) ปริมาตร(ลบ.ซม.)
หรือ
มวลในอากาศ___
มวลในอากาศ-มวลในน้ำ

2.เมื่อวัตถุจมในของเหลวบางส่วน
(ความหนาแน่นของวัตถุ
น้อยกว่า ความหนาแน่นของของเหลว )
ปริมาตรของเหลวที่ล้นออกมา
=
ปริมาตรของวัตถุเฉพาส่วนที่จม
น้ำหนักของเหลวที่ล้นออกมา
=
น้ำหนักของทั้งก้อน
แรงลอยตัว
=
น้ำหนักของวัตถุทั้งก้อน
สูตร
ความหนาแน่นของวัตถุ =
มวลของวัตถุ
( กรัม) ________ ปริมาตรวัตถุทั้งก้อน
( ลูกบาศก์เซนติเมตร )

3.
เมื่อวัตถุจมอยู่ปริ่มผิวของเหลวพอดี (
ความหนาแน่นของวัตถุ = ความหนาแน่นของของเหลว )
ปริมาตรของเหลวที่ล้นออกมา
=
ปริมาตรของวัตถุทั้งก้อน
น้ำหนักของเหลวที่ล้นออกมา
=
น้ำหนักของวัตถุทั้งก้อน
แรงลอยตัว
=
น้ำหนักของวัตถุทั้งก้อน
สูตร
ความหนาแน่นของวัตถุ =
มวลของวัตถ
ุ ( กรัม ) __ ปริมาตร
( ลูกบาศก์เซนติเมตร )
|